รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม
สำนักงานวิทยาเขตศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ประจำปีงบประมาณ 2553
----------------------
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม  โครงการป้องกันการเกิดไฟป่า
2. ลักษณะโครงการ/กิจกรรม   โครงการ ต่อเนื่อง   โครงการใหม่  
3. วัตถุประสงค์
4. แหล่งงบประมาณ ... เงินรายได้ คณะ/สำนัก   เงินรายได้วิทยาเขต   เงินรายได้มหาวิทยาลัย   เงินงบประมาณแผ่นดิน   แหล่งอื่น  
5. แผนงาน ... พัฒนากายภาพ
6. หน่วยงานรับผิดชอบ ฝ่าย/สาขาวิชา/ส่วนงาน งานภูมิทัศน์ และ งานรักษาความปลอดภัย ฝ่ายอาคารสถานที่และยานพาหนะ   สังกัด สำนักงานวิทยาเขตศรีราชา
7. สอดคล้องประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยข้อที่ 1       
8. สอดคล้องประเด็นยุทธศาสตร์วิทยาเขตข้อที่ 5.1       
9. สอดคล้องประเด็นยุทธศาสตร์คณะ/สำนักข้อที่ 5.4       
10. วันที่จัดโครงการ 01-12-2552 ถึงวันที่ 31-05-2553  
11. งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ 18,410.70 บาท
  11.1 จำนวนเงินที่จริง 18,410.70 บาท
  11.2 ค่าใช้จ่ายแฝง 0.00 บาท
12. จำนวนผู้เข้าร่วม เป้าที่กำหนด 0  คนเข้าร่วมจริง  0 คน 
13. ดัวบ่งชี้ความสำเร็จ
เป้าหมาย
  ผลการจัดโครงการ

-จำนวนพื้นที่เขาน้ำซับทั้งหมดประมาณ 340 ไร่ ร้อยละ บันทึกข้อมูลไม่ครบ
14. ต้นทุน/ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ข้อมูลไม่ครบ บาท/คน
15. ค่าเฉลี่ยระดับความพึ่งพอใจ 0.00 หรือ ไม่มีการประเมิน
16. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม
 
ทำเรื่องขออนุมัติจัดทำโครงการป้องกันการเกิดไฟป่า และได้รับอนุมัติหลักการค่าใช้จ่ายจัดทำโครงการเมื่อวันที่22ธ.ค.52
ทำเรื่องสัญญาการยืมเงินจัดโครงการป้องกันการเกิดไฟป่ารับเงินเมื่อวันที่4ก.พ.53จำนวนเงิน20,000.-บาท
ถางป่าและกำจัดวัชพืชที่เป็นเชื้อเพลิงบริเวณแนวเขตรั้วลวดหนามรอบเขาน้ำซับเพื่อทำแนวกันไฟป้องกันการเกิดไฟป่า ความยาวประมาณ 2,545 เมตร ตั้งแต่เดือนม.ค.-พ.ค.53
มีเหตุการณ์ไฟป่าเกิดขึ้น2ครั้งเมื่อวันที่26-27ธ.ค.52และวันที่31-1ม.ค.53ทีมงานอาสาสมัครได้ช่วยกันระดมดับไฟ
ทำเรื่องสรุปปิดโครงการป้องกันการเกิดไฟป่าและคืนเงินยืมจำนวน1,589.30.-บาท และได้ดำเนินการสำเร็จเป็นไปตามแผน
17. ปัญหา/อุปสรรค
 
1.การเกิดไฟป่าอาจเกิดจากการทีีชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงแอบขึ้นเขาเข้าไปในป่าทิ้งแล้วสูบบุหรี่โดยทิ้งก้นบุหรี่ลงบนพื้นหญ้าแห้ง ทำให้ไฟเกิดลุกลามเป็นไฟป่าในที่สุด
2.เมื่อถึงฤดูแล้งชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงในพื้นที่จะเข้าป่าเพื่อแอบหาของป่า, เผาถ่าน, ล่าสัตว์ และใช้ประโยชน์จากไฟในการหาของป่า ทำให้ไม่สามารถควบคุมไฟได้ จึงเกิดการลุกลามกลายเป็นไฟป่าได้
3.เนื่องจากหน่วยงานราชการบางหน่วยงานการปฏิบัติงานในท้องที่บางอย่างไม่เป็นที่พอใจแก่ราษฎรทำให้เกิดความขัดแย้งจึงมีการกลั่นแกล้งจุดไฟให้ไหม้ป่าโดยไม่คำนึงถึงความรับผิดชอบและความเสียหายต่อสภาพป่าตลอดจนสิ่งแวดล้อมส่วนรวม
18. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
 
1.ควรมีการจัดฝึกอบรมให้สำหรับเจ้าหน้าที่ บุคลากร หรือนิสิต เพื่อเป็นอาสาสมัครเสือไฟช่วยกันดับไฟป่าในขณะที่มีเหตุการณ์ไฟป่าเกิดขึ้นแบบกระทันหัน
2.ควรมีการประชาสัมพันธ์หรือให้ความรู้แก่ชาวบ้านที่อยู่อาศัยระแวกบริเวณรอบๆมหาวิทยาลัยในการช่วยกันป้องกันไม่ให้เกิดไฟป่า
3.ปลูกจิตสำนึกให้แก่นิสิตวิทยาเขตศรีราชาให้มีความรักในพื้นที่ป่าเขาน้ำซับ ให้มีการรณรงค์ช่วยกันอนุรักษ์ธรรมชาติ
4.ผู้นำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประธานชุมชน หัวหน้ากลุ่มพลังมวลชนต่างๆ ล้วนมีความสำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหาไฟป่าในท้องถิ่น ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนในท้องถิ่น ต้องสนับสนุนสร้างความเข้าใจกับประชาชนในปัญหาไฟป่า เพื่อให้เกิดจิตสำนึกในการร่วมดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้ในท้องถิ่นให้คงอยู่เอื้ออำนวยประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่ท้องถิ่นอย่างยั้งยืน หากผู้นำชุมชนให้ความสำคัญในปัญหาไฟป่าแล้ว เชื่อว่าการชักชวนให้ราษฏรเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาไฟป่าก็จะเป็นไปได้ไม่ยากนัก
ไม่มี
19. ผลสำเร็จของโครงการ
มีการดำเนินงานตามแผน
เป็นไปตามกำหนดเวลา
ตรงตามวัตถุประสงค์
บรรลุเป้าหมาย
มีการติดตามและประเมินผล
เป็นไปตามตัวบ่งชี้  
20. เอกสารประกอบโครงการ
ไม่มีเอกสาร ไม่มีเอกสาร ไม่มีเอกสาร ไม่มีเอกสาร ไม่มีเอกสาร

 

ผู้เสนอโครงการ : น.ส.นภัสนันท์ เลื่อนราม และ นายมนัส มะลิวงษ์